ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
ความสำคัญและความหมายของการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
1.ความสำคัญของการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนด้านสารสนเทศสำหรับบุคคลเป็นแนวคิดใหม่ที่ต้องอาศัยทักษะหลายด้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งทักษะด้านการจัดการ ทั้งนี้เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการประกอบกิจการงานและการดำรงชีวิตในยุคการเปลี่ยนแปลงดังเช่นปัจจุบัน แนวคิดนี้เรียกว่า การจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล การจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลให้ประสบความสำเร็จมีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้
1.1 วิเคราะห์ความต้องการด้านสารสนเทศของตนเอง
1.2 สำรวจและทดลองระบบ
1.3 พัฒนาความรู้และทักษะที่จำเป็นเพื่อให้สามารถกำหนดระบบที่เหมาะสมที่สุด
1.4 นำระบบที่ได้กำหนดแล้วมาใช้งาน
1.5 ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
2. ความหมายของการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
การจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล เป็นแนวคิดที่อาศัยทักษะหลายด้านในการดำเนินการกับสารสนเทศทุกประเภทที่แต่ละบุคคลได้รับ ทั้งที่เกี่ยวกับการประกอบกิจการงานหรือการดำรงชีวิต เพื่อให้สามารถนำสารสนเทศที่สำคัญหรือจำเป็นต่อบุคคลนั้นออกมาใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาการของระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
1. ระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลในรูปกระดาษ ที่มีมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
2. ระบบสารสนเทศส่วนบุคคลในรูปคอมพิวเตอร์ ซึ่งมีความหลากหลายทั้งด้านรูปลักษณ์ ระดับความสามารถในการทำงาน และราคา ซึ่งแนวโน้มว่าในอนาคตจะมีความผกผันระหว่างขนาดของฮาร์ดแวร์และความสามารถในการทำงานของระบบ
3. ระบบจัดการสารสนเทศของกลุ่ม ซึ่งเป็นการเชื่อมโยงสารสนเทศส่วนบุคคลของกลุ่มบุคคลที่ทำงานร่วมกันเข้าด้วยกันโดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและประเภทของระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
1. องค์ประกอบของระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
1.1 ส่วนรับเข้า ประกอบด้วย ความต้องการด้านสารสนเทศของผู้ใช้ และข้อมูลที่เข้าสู่ระบบ
1.2 ส่วนประมวลผล
1.3 ส่วนแสดงผล
2.ประเภทของระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
2.1 ประเภทรูปลักษณ์ ได้แก่ โปรแกรมสำเร็จรูป และอุปกรณ์เฉพาะ เช่น เครื่องพีดีเอ
2.2 ประเภทฟังก์ชันการทำงาน เช่น ประเภทพื้นฐาน ประเภทกึ่งซับซ้อน และประเภทซับซ้อน
เกณฑ์การเลือกระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
การเลือกระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลมีเกณฑ์ที่ควรคำนึงถึงทั้งด้านผู้ที่ใช้ระบบและตัวระบบ ดังนี้
1. ด้านผู้ที่จะใช้ระบบ ควรพิจารณาถึงเป้าหมาย ความต้องการด้านสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. ด้านตัวระบบ ควรพิจารณาถึงความสามารถในการทำงาน ราคา ความยากง่ายในการใช้และการเรียนรู้ การสนับสนุนด้านเทคนิค การรับฟังความคิดเห็น ตลอดจนการทดลองใช้ระบบก่อนการตัดสินใจเลือกระบบใดระบบหนึ่ง
ระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
ระบบนัดหมาย
1. ระบบนัดหมายส่วนบุคคล
ระบบนัดหมายส่วนบุคคล หรือปฏิทินการทำงานส่วนบุคคลเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พบในระบบการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลโดยทั่วไป ระบบนี้มีลักษณะคล้ายสมุดนัดหมายส่วนบุคคลที่เป็นกระดาษที่ทุกคนคุ้นเคยกันดี
2. ระบบนัดหมายกลุ่ม
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการนัดประชุม หรือที่เรียกว่าระบบนัดหมายกลุ่ม จัดเป็นพัฒนาการที่เกี่ยวเนื่องกับระบบนัดหมายบุคคล การใช้งานของระบบนัดหมายกลุ่มจะบังเกิดผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัยสองประการ ประการแรก สมาชิกทุกคนในกลุ่มต้องใช้ระบบนัดหมายส่วนบุคคลในการบริหารเวลาของตนเอง และระบบนัดหมายส่วนบุคคลนั้นควรเป็นระบบเดียวกัน หากเป็นคนละระบบก็ต้องใช้รูปแบบของข้อมูลที่เป็นมาตรฐานเพื่อให้สามารถแสดงผลพร้อมกันได้ และอีกประการหนึ่งคือ ระบบนัดหมายส่วนบุคคลที่สมาชิกทุกคนใช้จะต้องสามารถเข้าถึงได้โดยผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบติดตามงาน
1. ระบบติดตามงานส่วนบุคคล
ระบบติดตามงานส่วนบุคคล เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ประเภทหนึ่งเช่นเดียวกับนาฬิกาปลุกและเครื่องคิดเลข ที่มักเป็นส่วนเสริมอยู่ในระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลแทบทุกระบบ ระบบติดตามงานบุคคลหมายถึง บัญชีรายการงานที่ยังไม่ได้ดำเนินการ
ระบบติดตามงานส่วนบุคคลมีระบบช่วยเตือนความจำ 3 รูปแบบ ได้แก่
- ป้อนข้อความเตือนความจำเข้าสู่ระบบนัดหมายส่วนบุคคลโดยอัตโนมัติ เพราะระบบทั้งสองเชื่อมโยงกัน
- มีหน้าต่างเตือนความจำ แสดงขึ้นที่หน้าจอเมื่อมีการเปิดเครื่อง
- ส่งข้อความเตือนความจำผ่านระบบไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ถึงผู้ใช้
2. ระบบติดตามงานกลุ่ม
บุคลากรทุกคนต้องใช้ระบบติดตามงานส่วนบุคคลในการบริหารงานและเวลาของตนเองและระบบที่ใช้ควรเป็นระบบเดียวกัน เพื่อให้สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ สำหรับระบบนัดหมายกลุ่ม คือมาตรฐานวี-กาเล็นดาร์
ระบบติดต่อสื่อสาร
1. ระบบติดต่อสื่อสารแบบพื้นฐาน
ระบบติดต่อสื่อสารแบบพื้นฐานมีลักษณะคล้ายสมุดจดที่อยู่ที่เป็นกระดาษ แต่การค้นหาข้อมูลมีการจัดเรียงลำดับในลักษณะต่างๆตามวัตถุประสงค์ที่จะนำไปใช้งาน เช่น เรียงตามชื่อสกุล ชื่อหน่วยงานที่สังกัด
2. ระบบติดต่อสื่อสารแบบซับซ้อน เช่น ระบบโทรศัพท์ และระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
เทคโนโลยีพีดีเอ
พีดีเอ (Personal Digital Assistant, PDA) เป็นเทคโนโลยีระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เฉพาะที่รวมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ไว้ด้วยกัน และได้รับการพัฒนาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะในการจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลแต่เพียงอย่างเดียว
1. คุณลักษณะของพีดีเอ
1.1 การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ มีการพิมพ์ การถ่ายโอนข้อมูล การเขียน การแปลงข้อมูล การพูด
1.2 การจัดเก็บสารสนเทศ
1.3 การสื่อสาร อาจเป็นได้ทั้งแบบมีสายและไร้สาย
1.4 การจัดการสารสนเทศส่วนบุคคล
1.5 การถ่ายโอนและแลกเปลี่ยนข้อมูล
2. ช่องทางการสื่อสารของพีดีเอ
2.1 เทคโนโลยีเซลลูลาร์
2.2 เทคโนโลยีอินฟราเรด
ระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลบนเว็บ
1. จุดเด่นของระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลบนเว็บ
1.1 การไม่มีข้อจำกัดด้านเวลาและสถานที่
1.2 การแสดงสารสนเทศในลักษณะมัลติมีเดีย
2. มาตรฐานสำคัญของระบบจัดการสารสนเทศส่วนบุคคลบนเว็บ
ในปัจจุบันมาตรฐานที่กำลังเป็นที่นิยมในการแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนบุคคลระหว่างระบบติดต่อสื่อสาร คือ มาตรฐานวี-การ์ด เช่น การนำมาใช้ประโยชน์ด้านนามบัตรอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับมาตรฐานในการแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนบุคคลระหว่างระบบนัดหมายและระหว่างระบบติดตามงาน คือ มาตรฐานวี-กาเล็นดาร์
วิชาอินเตอร์เน็ทเพื่องานธุรกิจ
วันอังคารที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
การป้องกันและกำจัดไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัสคอมพิวเตอร์
ไวรัส คือ โปรแกรม ชนิด หนึ่ง ที่ มี ความ สามารถ ใน การ สำเนา ตัว เอง เข้า ไป ติด อยู่ ใน ระบบ คอมพิวเตอร์ ได้ และ ถ้า มี โอกาส ก็ สามารถ แทรก เข้า ไป ระบาด ใน ระบบ คอมพิวเตอร์ อื่น ๆ ซึ่ง อาจ เกิด จาก การ นำ เอาดิสก์ที่ ติด ไวรัส จากเครื่องหนึ่ง ไป ใช้ อีกเครื่องหนึ่ง หรือ อาจ ผ่าน ระบบ เครือ ข่าย หรือ ระบบ สื่อ สาร ข้อ มูล ไวรัส ก็ อาจ แพร่ ระบาด ได้ เช่น กัน การ ที่ คอมพิวเตอร์ ใด ติด ไวรัส หมาย ถึง ว่า ไวรัส ได้ เข้า ไป ผัง ตัว อยู่ ใน หน่วย ความ จำ คอมพิวเตอร์ เรียบ ร้อย แล้ว เนื่อง จาก ไวรัส ก็ เป็น แค่ โปรแกรม ๆ หนึ่ง การ ที่ ไวรัส จะ เข้า ไป อยู่ ใน หน่วย ความ จำ ได้ นั้น จะ ต้อง มี การ ถูก เรียก ให้ ทำ งาน ได้ นั้น ยัง ขึ้น อยู่กับประเภท ของ ไว รัส แต่ ละ ตัว ปกติ ผู้ ใช้ มัก จะ ไม่ รู้ ตัว ว่า ได้ ทำ การ ปลุก คอมพิวเตอร์ ไวรัส ขึ้น มา ทำ งาน แล้ว จุด ประสงค์ ของ การ ทำ งาน ของ ไวรัส แต่ ละ ตัว ขึ้น อยู่กับตัว ผู้ เขียน โปรแกรม ไวรัส นั้น เช่น อาจ สร้าง ไวรัส ให้ ไป ทำลาย โปรแกรม หรือ ข้อ มูล อื่น ๆ ที่ อยู่ ในเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือ แสดง ข้อ ความ วิ่ง ไป มา บน หน้า จอ เป็น ต้น ประเภทของไวรัส บูตเซกเตอร์ไวรัส Boot Sector Viruses หรือ Boot Infector Viruses คือ ไวรัส ที่ เก็บ ตัว เอง อยู่ ในบูตเซกเตอร์ ของดิสก์ การ ใช้ งาน ของบูตเซกเตอร์คือ เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ เริ่ม ทำ งาน ขึ้น มา ตอน แรก เครื่อง จะ เข้า ไป อ่านบูตเซกเตอร์ โดย ในบูตเซกเตอร์จะ มี โปรแกรม เล็ก ๆ ไว้ ใช้ ใน การ เรียก ระบบ ปฎิบัติ การ ขึ้น มา ทำ งาน อีก ที หนึ่ง บูตเซกเตอร์ไวรัส จะ เข้า ไป แทน ที่ โปรแกรม ดัง กล่าว และ ไวรัส ประเภท นี้ ถ้า ไป ติด อยู่ ใน ฮาร์ดดิสก์ โดย ทั่ว ไป จะ เข้า ไป อยู่ บริเวณ ที่ เรียก ว่า Master Boot Sector หรือ Parition Table ของ ฮาร์ดดิสก์นั้น ถ้าบูตเซกเตอร์ของดิสก์ใด มี ไวรัส ประเภท นี้ ติด อยู่ ทุก ๆ ครั้ง ที่บูตเครื่องขึ้น มา โดย พยายาม เรียก ดอสจากดิสก์นี้ ตัว โปรแกรม ไวรัส จะ ทำ งาน ก่อน และ จะ เข้า ไป ฝัง ตัว อยู่ ใน หน่วย ความ จำ เพื่อ เตรียม พร้อม ที่ จะ ทำ งาน ตาม ที่ ได้ ถูก โปรแกรม มา แล้ว ตัว ไวรัส จึง ค่อย ไป เรียกดอสให้ ขึ้น มา ทำ งาน ต่อ ไป ทำ ให้ เหมือน ไม่ มี อะไร เกิด ขึ้นโปรแกรม ไวรัส Program Viruses หรือ File Intector Viruses เป็น ไวรัส อีก ประเภท หนึ่ง ที่ จะ ติด อยู่กับโปรแกรม ซึ่ง ปกติ ก็ คือ ไฟล์ ที่ มี นามสกุล เป็น COM หรือ EXE และ บาง ไวรัส สามารถ เข้า ไป ติด อยู่ ใน โปรแกรม ที่ มี นามสกุล เป็น sys และ โปรแกรม ประเภท Overlay Programsได้ ด้วย โปรแกรม โอเวอร์เลย์ปกติ จะ เป็น ไฟล์ ที่ มี นามสกุล ที่ ขึ้น ต้น ด้วย OV วิธี การ ที่ ไวรัส ใช้ เพื่อ ที่ จะ เข้า ไป ติด โปรแกรม มี อยู่ สอง วิธี คือ การ แทรก ตัว เอง เข้า ไป อยู่ ใน โปรแกรม ผล ก็ คือ หลัง จากท ี่ โปรแกรม นั้น ติด ไวรัส ไป แล้ว ขนาด ของ โปรแกรม จะ ใหญ่ ขึ้น หรือ อาจ มี การ สำเนา ตัว เอง เข้า ไป ทับ ส่วน ของ โปรแกรม ที่ มี อยู่เดิมดัง นั้น ขนาด ของ โปรแกรม จะ ไม่ เปลี่ยน และ ยาก ที่ จะ ซ่อม ให้ กลับ เป็น ดังเดิม การ ทำ งาน ของ ไวรัส โดย ทั่ว ไป คือ เมื่อ มี การ เรียก โปรแกรม ที่ ติด ไวรัส ส่วน ของ ไวรัส จะ ทำ งาน ก่อน และ จะ ถือ โอกาส นี้ ฝัง ตัว เข้า ไป อยู่ ใน หน่วย ความ จำ ทัน ที แล้ว จึง ค่อย ให้ โปรแกรม นั้น ทำ งาน ตาม ปกติ ต่อ ไป เมื่อ ไวรัส เข้า ไป ฝัง ตัว อยู่ ใน หน่วย ความ จำ แล้ว หลัง จาก นี้ ไป ถ้า มี การ เรียก โปรแกรม อื่น ๆ ขึ้น มา ทำ งาน ต่อ ตัว ไวรัส ก็ จะ สำเนา ตัว เอง เข้า ไป ใน โปรแกรม เหล่า นี้ ทัน ที เป็น การ แพร่ ระบาด ต่อ ไป วิธี การ แพร่ ระบาด ของ โปรแกรม ไวรัส อีก แบบ หนึ่ง คือ เมื่อ มี การ เรียก โปรแกรม ที่ มี ไวรัส ติด อยู่ ตัว ไวรัส จะ เข้า ไป หา โปรแกรม อื่น ๆ ที่ อยู่ ในดิสก์เพื่อ ทำ สำเนา ตัว เอง ลง ไป ทัน ที แล้ว จึง ค่อย ให้ โปรแกรม ที่ ถูก เรียก นั้น ทำ งาน ตาม ปกติ ต่อ ไปม้า โทร จัน ม้า โทร จัน (Trojan Horse) เป็น โปรแกรม ที่ ถูก เขียน ขึ้น มา ให้ ทำ ตัว เหมือน ว่า เป็น โปรแกรม ธรรม ดา ทั่ว ๆ ไป เพื่อ หลอก ล่อ ผู้ ใช้ ให้ ทำ การ เรียก ขึ้น มา ทำ งาน แต่ เมื่อ ถูก เรียก ขึ้น มา แล้ว ก็ จะ เริ่ม ทำลาย ตาม ที่ โปรแกรม มา ทัน ที ม้า โทร จัน บาง ตัว ถูก เขียน ขึ้น มา ใหม่ ทั้ง ชุด โดย คน เขียน จะ ทำ การ ตั้ง ชื่อ โปรแกรม พร้อม ชื่อ รุ่น และ คำ อธิบาย การ ใช้ งาน ที่ ดู สม จริง เพื่อ หลอก ให้ คน ที่ จะ เรียก ใช้ ตาย ใจ จุด ประสงค์ ของ คน เขียน ม้า โทร จัน อาจ จะ เช่น เดียวกับคน เขียน ไวรัส คือ เข้า ไป ทำ อันตราย ต่อ ข้อ มูล ที่ มี อยู่ ในเครื่อง หรือ อาจ มี จุด ประสงค์ เพื่อ ที่ จะ ล้วง เอา ความ ลับ ของ ระบบ คอมพิวเตอร์ ม้า โทร จัน นี้ อาจ จะ ถือ ว่า ไม่ ใช่ ไวรัส เพราะ เป็น โปรแกรม ที่ ถูก เขียน ขึ้น มา โดด ๆ และ จะ ไม่ มี การ เข้า ไป ติด ใน โปรแกรม อื่น เพื่อ สำเนา ตัว เอง แต่ จะ ใช้ ความ รู้ เท่า ไม่ ถึง การณ์ ของ ผู้ ใช้ เป็น ตัว แพร่ ระบาด ซอฟต์แวร์ที่ มี ม้า โทร จัน อยู่ ใน นั้น และ นับ ว่า เป็น หนึ่ง ใน ประเ ภทของ โปรแกรม ที่ มี ความ อันตราย สูง เพราะ ยาก ที่ จะ ตรวจ สอบ และ สร้าง ขึ้น มา ได้ ง่าย ซึ่ง อาจ ใช้ แค่ แบตซ์ไฟล์ ก็ สามารถ โปรแกรม ประเภท ม้า โทร จัน ได้โพ ลี มอร์ฟิก ไวรัส Polymorphic Viruses เป็น ชื่อ ที่ ใช้ ใน การ เรียก ไวรัส ที่ มี ความ สามารถ ใน การ แปรเปลี่ยน ตัว เอง ได้ เมื่อ มี สร้าง สำเนา ตัว เอง เกิด ขึ้น ซึ่ง อาจ ได้หถึง หลาย ร้อย รูป แบบ ผล ก็ คือ ทำ ให้ ไวรัส เหล่า นี้ ยาก ต่อ การ ถูก ตรวจ จับ โดย โปรแกรม ตรวจ หา ไวรัส ที่ ใช้ วิธี กา รส แกน อย่าง เดียว ไวรัส ใหม่ ๆ ใน ปัจจุบัน ที่ มี ความ สามารถ นี้ เริ่ม มี จำนวน เพิ่ม มาก ขึ้น เรื่อย ๆสทีลต์ไวรัส Stealth Viruses เป็น ชื่อ เรียก ไวรัส ที่ มี ความ สามารถ ใน การ พราง ตัว ต่อ การ ตรวจ จับ ได้ เช่น ไฟล์อินเฟกเตอร์ ไวรัส ประเภท ที่ ไป ติด โปรแกรม ใด แล้ว จะ ทำ ให้ ขนาด ของ โปรแกรม นั้น ใหญ่ ขึ้น ถ้า โปรแกรม ไวรัส นั้น เป็น แบบสทีลต์ไวรัส จะ ไม่ สามารถ ตรวจ ดู ขนาด ที่ แท้ จริง ของ โปรแกรม ที่ เพิ่ม ขึ้น ได้ เนื่อง จาก ตัว ไวรัส จะ เข้า ไป ควบ คุ มดอส เมื่อ มี การ ใช้ คำ สั่ง DIR หรือ โปรแกรม ใด ก็ ตาม เพื่อ ตรวจ ดู ขนาด ของ โปรแกรม ดอสก็ จะ แสดง ขนาด เหมือนเดิ ม ทุก อย่าง ราวกับว่า ไม่ มี อะไร เกิด ขึ้น
อาการของเครื่องที่ติดไวรัส สามารถสังเกตุ การ ทำ งาน ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้า มี อาการ ดัง ต่อ ไป นี้ อาจ เป็น ไป ได้ ว่าไ ด้มี ไวรัส เข้า ไป ติด อยู่ ในเครื่องแล้ว อาการ ที่ ว่า นั้น ได้ แก่
กา รส แกน โปรแกรม ตรวจ หา ไวรัส ที่ ใช้ วิธี กา รส แกน (Scanning) เรียก ว่า สแกนเนอร์ (Scanner) โดย จะ มี การ ดึง เอา โปรแกรม บาง ส่วน ของ ตัว ไวรัส มา เก็บ ไว้ เป็น ฐาน ข้อ มูล ส่วน ที่ ดึง มา นั้น เรา เรียก ว่า ไวรัส ซิกเนเจอร์ (VirusSignature)และ เมื่อสแกนเนอร์ถูก เรียก ขึ้น มา ทำ งาน ก็ จะ เข้า ตรวจ หา ไวรัส ใน หน่วย ความ จำ บูตเซกเตอร์และ ไฟล์ โดย ใช้ ไวรัส ซิกเนเจอร์ที่ มี อยู่ ข้อ ดี ของ วิธี การ นี้ ก็ คือ เรา สามารถ ตรวจ สอบ ซอฟแวร์ที่ มา ใหม่ ได้ ทัน ที เลย ว่า ติด ไวรัส หรือ ไม่ เพื่อ ป้อง กัน ไม่ ให้ ไวรัส ถูก เรียก ขึ้น มา ทำ งาน ตั้ง แต่ เริ่ม แรก แต่ วิธี นี้ มี จุด อ่อน อยู่ หลาย ข้อ คือ
ตรวจ การ เปลี่ยน แปลง การ ตรวจ การ เปลี่ยน แปลง คือ การ หา ค่า พิเศษ อย่าง หนึ่ง ที่ เรียก ว่า เช็คซัม (Checksum) ซึ่ง เกิด จาก การ นำ เอา ชุด คำ สั่ง และ ข้อ มูล ที่ อยู่ ใน โปรแกรม มา คำนวณ หรือ อาจ ใช้ ข้อ มูล อื่น ๆ ของ ไฟล์ ได้ แก่ แอ ตริ บิวต์ วัน และ เวลา เข้า มา รวม ใน การ คำนวณ ด้วย เนื่อง จาก ทุก สิ่ง ทุก อย่าง ไม่ ว่า จะ เป็น คำ สั่ง หรือ ข้อ มูล ที่ อยู่ ใน โปรแกรม จะ ถูก แทน ด้วย รหัส เลข ฐาน สอง เรา จึง สามารถ นำ เอา ตัว เลข เหล่า นี้ มา ผ่าน ขั้น ตอน การ คำนวณ ทางคณิต ศาสตร์ ได้ ซึ่ง วิธี การ คำนวณ เพื่อ หา ค่า เช็คซัมนี้ มี หลาย แบบ และ มี ระดับ การ ตรวจ สอบ แตก ต่าง กัน ออก ไป เมื่อ ตัว โปรแกรม ภาย ใน เกิด การ เปลี่ยน แปลง ไม่ ว่า ไวรัส นั้น จะ ใช้ วิธี การ แทรก หรือ เขียน ทับ ก็ ตาม เลข ที่ ได้ จาก การ คำนวณ ครั้ง ใหม่ จะ เปลี่ยน ไป จาก ที่ คำนวณ ได้ ก่อน หน้า นี้ ข้อ ดี ของ การ ตรวจ การ เปลี่ยน แปลง ก็ คือ สามารถ ตรวจ จับ ไวรัส ใหม่ ๆ ได้ และ ยัง มี ความ สามารถ ใน การ ตรวจ จับ ไวรัส ประเภท โพ ลี มอร์ฟิก ไวรัส ได้ อีก ด้วย แต่ ก็ ยัง ยาก สำหรับสทีลต์ไวรัส ทั้ง นี้ ขึ้น อยู่กับความ ฉลาด ของ โปรแกรม ตรวจ หา ไวรัส เอง ด้วย ว่า จะ สามารถ ถูก หลอก โดย ไวรัส ประเภท นี้ ได้ หรือ ไม่ และ มี วิธี การ ตรวจ การ เปลี่ยน แปลง นี้ จะ ตรวจ จับ ไวรัส ได้ ก็ ต่อ เมื่อ ไวรัส ได้ เข้า ไป ติดอย ู่ในเครื่องแล้ว เท่า นั้น และ ค่อน ข้าง เสี่ยง ใน กรณี ที่ เริ่ม มี การ คำนวณ หา ค่า เช็คซัมเป็น ครั้ง แรก เครื่องที่ ใช้ ต้อง แน่ ใจ ว่า บริสุทธิ์ พอ คือ ต้อง ไม่ มี โปรแกรม ใด ๆ ติด ไวรัส มิ ฉะนั้น ค่า ที่ หา ได้ จาก การ คำนวณ ที่ รวม ตัว ไวรัส เข้า ไป ด้วย ซึ่ง จะ ลำบาก ภาย หลัง ใน การ ที่ จะ ตรวจ หา ไวรัส ตัว นี้ ต่อ ไปการ เฝ้า ดู เพื่อ ที่ จะ ให้ โปรแกรม ตรวจ จับ ไวรัส สามารถ เฝ้า ดู การ ทำ งาน ของเครื่องได้ ตลอด เวลา นั้น จึง ได้ มี โปรแกรม ตรวจ จับ ไวรัส ที่ ถูกสร้งขึ้น มา เป็น โปรแกรม แบบเรซิ เดนท์หรือ ดี ไวซ์ไดรเวอร์ โดย เทคนิค ของ การ เฝ้า ดู นั้น อาจ ใช้ วิธี กา รส แกน หรือ ตรวจ การ เปลี่ยน แปลง หรือ สอง แบบ รวม กัน ก็ ได้ การ ทำ งาน โดย ทั่ว ไป ก็ คือ เมื่อ ซอฟแวร์ตรวจ จับ ไวรัส ที่ ใช้ วิธี นี้ ถูก เรียก ขึ้น มา ทำ งาน ก็ จะ เข้า ไป ตรวจ ใน หน่วยควา มจำ ของเครื่องก่อน ว่า มี ไวรัส ติด อยู่ หรือ ไม่ โดย ใช้ ไวรัส ซิกเนเจอร์ ที่ มี อยู่ ใน ฐาน ข้อ มูล จาก นั้น จึง ค่อย นำ ตัว เอง เข้า ไป ฝัง อยู่ ใน หน่วย ความ จำ และ ต่อ ไป ถ้า มี การ เรียก โปรแกรม ใด ขึ้น มา ใช้ งาน โปรแกรม เฝ้า ดู นี้ ก็ จะ เข้า ไป ตรวจ โปรแกรม นั้น ก่อน โดย ใช้ เทคนิค กา รส แกน หรือ ตรวจ การ เปลี่ยน แปลง เพื่อ หา ไวรัส ถ้า ไม่ มี ปัญหา ก็ จะ อนุญาต ให้ โปรแกรม นั้น ขึ้น มา ทำ งาน ได้ นอก จาก นี้ โปรแกรม ตรวจ จับ ไวรัส บาง ตัว ยัง สามารถ ตรวจ สอบ ขณะ ที่ มี การ คัด ลอก ไฟล์ ได้ อีก ด้วย ข้อ ดี ของ วิธี นี้ คือ เมื่อ มี การ เรียก โปรแกรม ใด ขึ้น มา โปรแกรม นั้น จะ ถูก ตรวจ สอบ ก่อน ทุก ครั้ง โดย อัตโนมัติ ซึ่ง ถ้า เป็น การ ใช้สแกนเนอร์ จะ สามารถ ทราบ ได้ ว่า โปรแกรม ใด ติด ไวรัส อยู่ ก็ ต่อ เมื่อ ทำ การ เรียกสแกนเนอร์นั้น ขึ้น มา ทำ งาน ก่อน เท่า นั้น ข้อ เสีย ของ โปรแกรม ตรวจ จับ ไวรัส แบบ เฝ้า ดู ก็ คือ จะ มี เวลา ที่ เสีย ไป สำหรับ การ ตรวจ หา ไวรัส ก่อน ทุก ครั้ง และ เนื่อง จาก เป็น โปรแกรม แบบเรซิ เดนท์หรือ ดี ไวซ์ไดรเวอร์ จึง จำ เป็น จะ ต้อง ใช้ หน่วย ความ จำ ส่วน หนึ่ง ของเครื่องตลอด เวลา เพื่อ ทำ งาน ทำ ให้ หน่วย ความ จำ ในเครื่องเหลือ น้อย ลง และ เช่น เดียวกับสแกนเนอร์ ก็ คือ จำ เป็น จะ ต้อง มี การ ปรับ ปรุง ฐาน ข้อ มูล ของ ไวรัส ซิกเนเจอร์ให้ ทัน สมัย อยู่ เสมอ
คำแนะนำและการป้องกันไวรัส
การกำจัดไวรัส เมื่อ แน่ ใจ ว่าเครื่องติด ไวรัส แล้ว ให้ ทำ การ แก้ ไข ด้วย ความ ใคร่ ครวญ และ ระ มัด ระวัง อย่าง มาก เพราะ บาง ครั้ง ตัว คน แก้ เอง จะ เป็น ตัว ทำลาย มาก กว่า ตัว ไวรัส จริง ๆ เสีย อีก การฟอร์แมตฮาร์ดดิสก์ใหม่ อีก ครั้ง ก็ ไม่ ใช่ วิธี ที่ ดี ที่ สุด เสมอ ไป ยิ่ง แย่ ไป กว่า นั้น ถ้า ทำ ไป โดย ยัง ไม่ ได้ มี การ สำรอง ข้อ มูล ขึ้น มา ก่อน การ แก้ ไข นั้น ถ้า ผู้ ใช้ มี ความ รู้ เกี่ยวกับไวรัส ที่ กำลัง ติด อยู่ ว่า เป็น ประเภท ใด ก็ จะ ช่วย ได้ อย่าง มาก และ ข้อ เสนอ แนะ ต่อ ไป นี้ อาจ จะ มี ประ โยชน์ ต่อ ท่าน
เมื่อ ทราบ ว่าเครื่องติด ไวรัส ให้ ทำ การบูตเครื่องใหม่ ทัน ที โดย เรียกดอสขึ้น มา ทำ งาน จากฟลอปปีดิสก์ที่ ได้ เตรียม ไว้ เพราะ ถ้า ไป เรียกดอสจาก ฮาร์ดดิสก์ เป็น ไป ได้ ว่า ตัว ไวรัส อาจ กลับ เข้า ไป ใน หน่วย ความ จำ ได้ อีก เมื่อ เสร็จ ขั้น ตอน การ เรียกดอสแล้ว ห้าม เรียก โปรแกรม ใด ๆ ก็ ตาม ในดิสก์ที่ ติด ไวรัส เพราะ ไม่ ทราบ ว่า โปรแกรม ใด บ้าง ที่ มี ไวรัส ติด อยู่
ให้ เรียก โปรแกรม ตรวจ จับ ไวรัส เพื่อ ตรวจ สอบ ดู ว่า มี โปรแกรม ใด บ้าง ติด ไวรัส ถ้า โปรแกรม ตรวจ หา ไวรัส ที่ ใช้ อยู่ สามารถ กำจัด ไวรัส ตัว ที่ พบ ได้ ก็ ให้ ลอง ทำ ดู แต่ ก่อน หน้า นี้ ให้ ทำ การ คัด ลอก เพื่อ สำรอง โปรแกรม ที่ ติด ไวรัส ไป เสีย ก่อน โดย โปรแกรม จัด การ ไวรัส บาง โปรแกรม สามารถ สั่ง ให้ ทำ สำรอง โปรแกรม ที่ ติด ไวรัส ไป เป็น อีกช ื่อหนึ่ง ก่อน ที่ จะ กำจัด ไวรัส เช่น MSAV ขอ งดอสเอง เป็น ต้น การ ทำ สำรอง ก็ เพราะ ว่า เมื่อ ไวรัส ถูก กำจัด ออก จากฌปรแก รม ไป โปรแกรม นั้น อาจ ไม่ สามารถ ทำ งาน ได้ ตาม ปกติ หรือ ทำ งาน ไม่ ได้ เลย ก็ เป็น ไป ได้ วิธี การ ตรวจ ขั้น ต้น คือ ให้ ลอง เปรียบ เทียบ ขนาด ของ โปรแกรม หลัง จาก ที่ ถูก กำจัด ไวรัส ไป แล้วกับขนาดเดิม ถ้า มี ขนาด น้อย กว่า แสดง ว่า ไม่ สำเร็จ หาก เป็น เช่น นั้น ให้ เอา โปรแกรม ที่ ติด ไวรัส ที่ สำรอง ไว้ แล้ว หา โปรแกรม จัด การ ไวรัส ตัว อื่น มา ใช้ แทน แต่ ถ้า มี ขนาด มาก กว่า หรือ เท่ากับของเดิม เป็น ไป ได้ ว่า การ กำจัด ไวรัส อาจ สำเร็จ โดย อาจ ลอง เรียก โปรแกรม ตรวจ หา ไวรัส เพื่อ ทด สอบ โปรแกรม อีก ครั้ง หาก ผล การ ตรวจ สอบ ออก มา ว่า ปลอด เชื้อ ก็ ให้ ลอง เรียก โปรแกรม ที่ ถูก กำจัด ไวรัส ไป นั้น ขึ้น มา ทด สอบ การ ทำ งาน ดู อย่าง ละเอียด ว่าเ ป็นปกติ ดี อยู่ หรือ ไม่ อีก ครั้ง ใน ช่วง ดัง กล่าว ควร เก็บ โปรแกรม นี้ ที่ สำรอง ไป ขณะ ที่ ติด ไวรัส อยู่ ไว้ เผื่อ ว่า ภาย หลัง พบ ว่า โปรแกรม ทำ งาน ไม่ เป็น ไป ตาม ปกติ ก็ สามารถ ลอง เรียก โปรแกรม จัด การ ไวรัส ตัว อื่น ขึ้น มา กำจัด ต่อ ไป ได้ ใน ภาย หลัง แต่ ถ้า แน่ ใจ ว่า โปรแกรม ทำ งาน เป็น ปกติ ดี ก็ ทำ การ ลบ โปรแกรม สำรอง ที่ ยัง ติด ไวรัส ติด อยู่ ทิ้ง ไป ทัน ที เป็น การ ป้อง กัน ไม่ ให้ มี การ เรียก ขึ้น มา ใช้ งาน ภาย หลัง เพราะ ความ บังเอิญ ได้
การ
- สำรอง
ไฟล์ ข้อ มูล ที่ สำคัญ - สำหรับเครื่องที่
มี ฮาร์ดดิสก์ อย่า เรียกดอสจากฟลอปปีดิสก์ - ป้อง
กัน การ เขียน ให้กับฟลอปปีดิสก์ - อย่า
เรียก โปรแกรม ที่ ติด มากับดิสก์อื่น - เสาะ
หา โปรแกรม ตรวจ หา ไวรัส ที่ ใหม่ และ มาก กว่า หนึ่ง โปรแกรม จาก คน ละ บริษัท - เรียก
ใช้ โปรแกรม ตรวจ หา ไวรัส เป็น ช่วง ๆ - เรียก
ใช้ โปรแกรม ตรวจ จับ ไวรัส แบบ เฝ้า ดู ทุก ครั้ง - เลือก
คัด ลอก ซอฟแวร์เฉพาะ ที่ ถูก ตรวจ สอบ แล้ว ในบีบีเอส - สำรอง
ข้อ มูล ที่ สำคัญ ของ ฮาร์ดดิสก์ไป เก็บ ในฟลอปปีดิสก์ - เตรียมฟลอปปีดิสก์ที่
ไว้ สำหรับ ให้ เรียกดอสขึ้น มา ทำ งาน ได้ - เมื่อเครื่องติด
ไวรัส ให้ พยายาม หา ที่ มา ของ ไวรัส นั้น
วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
สถิติการใช้งานอินเทอร์เน็ตของคนไทย ปี 2556
สถิติการใช้งานอินเทอร์เน็ตของคนไทย ปี 2556
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
(องค์การมหาชน) หรือ สพธอ.
ได้เผยผลสำรวจพฤติกรรมผู้
ใช้อินเตอร์เน็ตปี 2556 นี้ โดยได้สำรวจจากทางเว็บไซต์และ
Social Network
โดยมีผู้ตอบมา 23,907 ราย เป็นเพศชาย 48.7% เพศหญิง 52.2%
โดยผู้ตอบมาจาก กทม. 45.9% ต่างจังหวัด 54.1%
ตัวอย่างเว็บไซต์ E-Commerce
ตัวอย่างเว็บไซต์ E-Commerce
Business-to-Consumer (B2C)
เป็นการทำธุรกรรมทางการค้าระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภคโดยตรง เช่น
Business-to-Consumer (B2C)
เป็นการทำธุรกรรมทางการค้าระหว่างผู้ประกอบการกับผู้บริโภคโดยตรง เช่น
Consumer-to-Consumer (C2C)
เป็นธุรกรรมทางการค้าระหว่างผู้บริโภคกับผู้บริโภค เช่น
Government-to-Citizen (G2C)
เป็นการทำธุรกรรมระหว่างหน่วยงานภาครัฐกับประชาชน เช่น
Business-to-Business (B2B)
เป็นการทำธุรกรรมทางการค้าระหว่างองค์กรธุรกิจกับองค์กรธุรกิจ เช่น
วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
ประเภทของ E-Commerce
ประเภทของ E-Commerce
มีการแบ่งประเภทอีคอมเมิร์ซกันหลายแบบ เช่น แบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 5 ประเภท แบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 3 ประเภท แบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 6 ส่วน และแบ่ง อีคอมเมิร์ซตามประเภทสินค้าเป็น 2 ประเภท เป็นต้น
อีคอมเมิร์ซ 5 ประเภท ถ้าจะแบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 5 ประเภทก็ได้ดังต่อไปนี้
มีการแบ่งประเภทอีคอมเมิร์ซกันหลายแบบ เช่น แบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 5 ประเภท แบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 3 ประเภท แบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 6 ส่วน และแบ่ง อีคอมเมิร์ซตามประเภทสินค้าเป็น 2 ประเภท เป็นต้น
อีคอมเมิร์ซ 5 ประเภท ถ้าจะแบ่งอีคอมเมิร์ซเป็น 5 ประเภทก็ได้ดังต่อไปนี้
- ธุรกิจกับผู้ซื้อปลีกหรือบีทูซี (B-to-C = Business-to-Consumer) คือประเภทที่ผู้ซื้อปลีกใช้อินเตอร์เน็ตในการซื้อสินค้าจากธุรกิจที่โฆษณาอยู่ในอินเตอร์เน็ต
- ธุรกิจกับธุรกิจหรือบีทูบี (B-to-B = Business-to-Business) คือ ประเภท ที่ธุรกิจกับธุรกิจติดต่อซื้อขายสินค้ากันผ่านอินเตอร์เน็ต
- ธุรกิจกับรัฐบาลหรือบีทูจี (B-to-G = Business-to-Government) คือประเภทที่ธุรกิจติดต่อกับหน่วยราชการ
- รัฐบาลกับรัฐบาลหรือจีทูจี (G-to-G = Government to Government) คือ ประเภทที่หน่วยงานรัฐบาลหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งติดต่อกับหน่วยงานรัฐบาลอีกหน่วยงานหนึ่ง
- ผู้บริโภคกับผู้บริโภคหรือซีทูซี (C-to-C = Consumer-to-Consumer) คือ ประเภทที่ผู้บริโภคประกาศขายสินค้าแล้วผู้บริโภคอีกรายหนึ่งก็ซื้อไป เช่น ที่อีเบย์ดอทคอม (Ebay.com) เป็นต้น ซึ่งผู้บริโภคสามารถจ่ายเงินให้กันทางบัตรเครดิตได้
- อีคอมเมิร์ซระหว่างผู้บริโภคกับธุรกิจ หรือ บีทูซี (B-to-C = Business-to-Consumer) ซึ่งอาจจะมีตัวอย่างดังต่อไปนี้
- การติดต่อสื่อสารระหว่างผู้บริโภคกับธุรกิจโดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ วิดีโอคอนเฟอเร็นซ์ กลุ่มสนทนา กระดานข่าว เป็นต้น
- การจัดการด้านการเงิน ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถจัดการเรื่องการเงินส่วนตัว เช่น ฝาก-ถอน เงินกับธนาคาร ซื้อขายหุ้นกับผู้ค้าหุ้น เช่น อีเทรด (www.etrade.com) เป็นต้น
- ซื้อขายสินค้าและข้อมูล ช่วยให้ผู้บริโภคสามารถซื้อขายสินค้าและข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตได้โดยสะดวก
- อีคอมเมิร์ซภายในองค์กรหรือแบบอินทราออร์ก (Intra-Org E-commerce) คือ การใช้อีคอมเมิร์ซในการช่วยให้บริษัทหรือองค์ใดองค์กรหนึ่งสามารถปรับปรุงการทำงานภายในและให้บริการลูกค้าได้ดีขึ้น ดังตัวอย่างต่อไปนี้
- การติดต่อสื่อสารภายในองค์กรจะสะดวกรวดเร็วจะได้ผลดีขึ้น โดยใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ วีดีโอคอนเฟอเรนซ์ และป้ายประกาศ เป็นต้น
- การจัดพิมพ์เอกสารทางอิเล็กทรอนิกส์ หรืออีพับลิซซิง (Electronic Publishing) ช่วยให้บริษัทสามารถออกแบบเอกสาร จัดพิมพ์เอกสาร และแจกจ่ายเอกสารได้สะดวกรวดเร็ว และใช้ค่าใช้จ่ายน้อย ไม่ว่าจะเป็นคู่มือข้อกำหนดสินค้า (Product Specifications) รายงานการประชุม เป็นต้น ทั้งนี้โดยผ่านเว็บ
- การปรับปรุงประสิทธิภาพพนักงานขาย การใช้อีคอมเมิร์ซแบบนี้ช่วยปรับปรุงการสื่อสารระหว่างฝ่ายผลิตกับฝ่ายขาย และระหว่างฝ่ายขายกับลูกค้า ทำให้ได้ประสิทธิภาพดีขึ้น
- อีคอมเมิร์ซระหว่างองค์กรหรือแบบอินเตอร์ออร์ก (Inter-Org E-commerce) ซึ่งก็คือแบบเดียวกับแบบที่เรียกว่าบีทูบี (Business to Business) ทั้งนี้โดยมีตัวอย่างต่อไปนี้
- การจัดซื้อ ช่วยให้จัดซื้อได้ดีขึ้น ทั้งด้านราคา และระยะเวลาการส่งของ
- การจัดการสินค้าคงคลัง
- การจัดส่งสินค้า
- การจัดการช่องทางขายสินค้า
- การจัดการด้านการเงิน
- การขายปลีกทางอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเทลลิ่ง (E-tailing= Electronic Retailing) หรือร้านค้าเสมือนจริง (Virtual Storefront) ยอดขายปลีกอิเล็กทรอนิกส์ในอเมริกาใน ค.ศ. 1999 มีมูลค่าเป็นหมื่นล้านบาท
- การวิจัยตลาดทางอิเล็กทรอนิกส์หรือมาร์เก็ตอีรีเซิร์ช (Market E-research) คือการใช้อินเตอร์เนตในการวิจัยตลาดแบบเดียวกับที่สำนักวิจัยเอแบค-เคเอสซีอินเตอร์เน็ตทำอยู่ จากการใช้อินเตอร์เน็ตนี้ บริษัทห้างร้านสามารถเก็บข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าปัจจุบัน และผู้ที่อาจจะเป็นลูกค้าในอนาคต ทั้งจากการลงทะเบียนเข้าใช้ เว็บ จากแบบสอบถามและจากการสั่งซื้อสินค้าของลูกค้า การวิจัยตลาด อินเตอร์เน็ตก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของอีคอมเมิร์ซ
- อินเตอร์เน็ตอีดีไอ หรือการส่งเอกสารตามมาตรฐานอีดีไอโดยใช้อินเตอร์เน็ต ซึ่งทำให้ค่าใช้จ่ายต่ำลงก็ถือว่าเป็นอีคอมเมิร์ซประเภทหนึ่ง
- โทรสารและโทรศัพท์อินเตอร์เน็ต การใช้โทรสารและโทรศัพท์ทางไกลผ่านอินเตอร์เน็ตหรือ วีโอไอพี (VoIP= Voice over IP) นั้นมีราคาต่ำกว่าการใช้โทรสารและโทรศัพท์ธรรมดา และอาจจะใช้เป็นส่วนหนึ่งของอีคอมเมิร์ซ
- การซื้อขายระหว่างบริษัทกับบริษัท บริษัทต่างๆ จำนวนมากในปัจจุบันติดต่อซื้อขายสินค้ากันโดยผ่านเว็บในอินเตอร์เน็ต ซึ่งก็ถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของอีคอมเมิร์ซ
- ระบบความปลอดภัยในอีคอมเมิร์ซ ถือว่าเป็นส่วนสำคัญของอีคอมเมิร์ซทั้งนี้ในปัจจุบันมีการใช้วิธีต่างๆ เช่น เอสเอสแอล (SSL= Secure Socket Layer) เซ็ต (SET = Secure Electronic Transaction) อาร์เอสเอ (RSA = Rivets, Shamir and Adelman) ดีอีเอส (DES= Data Encryption Standard) และดีอีเอสสามชั้น (Triple DES) เป็นต้น
- สินค้าดิจิตอล เช่น ซอฟท์แวร์ เพลง วิดีโอ หนังสือ ดิจิตอล เป็นต้น ซึ่งสามารถส่งสินค้าได้โดยผ่านอินเตอร์เน็ต
- สินค้าที่ไม่ใช่ดิจิตอล เช่น สินค้าหัตถกรรม สินค้าศิลปะชีพ เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม เครื่องหนังเครื่องประดับ เครื่องจักรอุปกรณ์ เป็นต้น ซึ่งต้องส่งสินค้าทางพัสดุภัณฑ์ ผ่านไปรษณีย์หรือบริษัทรับส่งพัสดุภัณ
องค์ประกอบของ E-Commerce
องค์ประกอบของ E-Commerce
องค์ประกอบสำคัญของการทำอีคอมเมิร์ซ
มี 7 องค์ประกอบหลักๆ คือ
1. สินค้า (Product) ได้แก่ สิ่งที่เราจะขายผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ต มีหลายแบบคือ สินค้าที่จับต้องได้, สินค้าที่เป็น Content, สินค้าที่เป็นลักษณะการบริการ ...โปรดจำไว้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างขายได้
2. เว็บไซต์ (Website) ถ้าหากจะเปรียบกับการขายของแบบออฟไลน์ ส่วนนี้ ก็คือ พื้นที่ที่จะจัดแสดงสินค้า หรือ หน้าร้านนั่งเอง ในส่วนของการทำอีคอมเมิร์ซ หน้าร้านหรือเว็บไซต์มีความสำคัญมาก เพราะเป็นองค์ประกอบที่จะทำให้เกิดความน่าสนใจในตัวสินค้า/บริการ
3. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ (Promote/Advertising) หากมีหน้าร้านแต่ไม่มีลูกค้าเข้า หากมีเว็บไซต์สวยงาม แต่ไม่มีคนเข้ามาดู นั่นคือ ความล้มเหลว ด้วยเหตุนี้ การทำการโฆษณาประชาสัมพันธ์ร้านให้ทุกคนรู้จัก ย่อมเป็นสิ่งที่สมควรศึกษา
4. ลูกค้า (Customer) ข้อนี้ขาดไม่ได้เลย เป็นหัวใจสำคัญ ร้านจะเจ๊งหรือไม่ ขึ้นอยู่กับคุณลูกค้าเลยทีเดียว
5. การชำระเงิน (Payment) มาถึงองค์ประกอบนี้ คนที่เปิดร้านค้าออนไลน์คงจะยิ้มออก นั่นคือ เกิดการซื้อขาย มีการใช้ระบบชำระเงิน ซึ่งในประเทศไทย มีหลายๆ ส่วนที่พยายามสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องของระบบการชำระเงิน ซึ่งจะขอย้ำว่า ...ถ้าเราเองยังไม่เชื่อมั่นในระบบชำระเงิน ก็เป็นเรื่องยากที่จะให้คนอื่นเชื่อมั่น
6. การขนส่ง (Logistic) สินค้าบางประเภทอาจจะไม่จำเป็นต้องใช้การขนส่ง เพราะเป็นสินค้าประเภท Content หรือไฟล์ หรือจำพวกสินค้าด้านบริการ แต่สำหรับสินค้าที่จำเป็นต้องพึ่งพาการขนส่ง ก็มีความจำเป็นที่จะเข้าใจถึงกระบวนการขนส่ง ที่จะช่วยลดต้นทุน และรักษาสินค้าของเราให้คงสภาพเดิม ไม่แตกหักเสียหาย
7. ผู้ดูแล เป็นอีกหนึ่งบุคคลสำคัญที่จะช่วยบริหารจัดการร้านค้าให้ประสบความสำเร็จ เพราะไม่เพียงต้องดูแลจัดการอัพเดทสินค้า เนื้อหาในร้าน ยังต้องดูแล ส่วนการจัดส่งสินค้า การตอบอีเมล์ลูกค้าด้วย หากเป็นกิจการเล็กๆ ในส่วนนี้ อาจจะเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการเอง
1. สินค้า (Product) ได้แก่ สิ่งที่เราจะขายผ่านช่องทางอินเทอร์เน็ต มีหลายแบบคือ สินค้าที่จับต้องได้, สินค้าที่เป็น Content, สินค้าที่เป็นลักษณะการบริการ ...โปรดจำไว้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่างขายได้
2. เว็บไซต์ (Website) ถ้าหากจะเปรียบกับการขายของแบบออฟไลน์ ส่วนนี้ ก็คือ พื้นที่ที่จะจัดแสดงสินค้า หรือ หน้าร้านนั่งเอง ในส่วนของการทำอีคอมเมิร์ซ หน้าร้านหรือเว็บไซต์มีความสำคัญมาก เพราะเป็นองค์ประกอบที่จะทำให้เกิดความน่าสนใจในตัวสินค้า/บริการ
3. การโฆษณาประชาสัมพันธ์ (Promote/Advertising) หากมีหน้าร้านแต่ไม่มีลูกค้าเข้า หากมีเว็บไซต์สวยงาม แต่ไม่มีคนเข้ามาดู นั่นคือ ความล้มเหลว ด้วยเหตุนี้ การทำการโฆษณาประชาสัมพันธ์ร้านให้ทุกคนรู้จัก ย่อมเป็นสิ่งที่สมควรศึกษา
4. ลูกค้า (Customer) ข้อนี้ขาดไม่ได้เลย เป็นหัวใจสำคัญ ร้านจะเจ๊งหรือไม่ ขึ้นอยู่กับคุณลูกค้าเลยทีเดียว
5. การชำระเงิน (Payment) มาถึงองค์ประกอบนี้ คนที่เปิดร้านค้าออนไลน์คงจะยิ้มออก นั่นคือ เกิดการซื้อขาย มีการใช้ระบบชำระเงิน ซึ่งในประเทศไทย มีหลายๆ ส่วนที่พยายามสร้างความเชื่อมั่นในเรื่องของระบบการชำระเงิน ซึ่งจะขอย้ำว่า ...ถ้าเราเองยังไม่เชื่อมั่นในระบบชำระเงิน ก็เป็นเรื่องยากที่จะให้คนอื่นเชื่อมั่น
6. การขนส่ง (Logistic) สินค้าบางประเภทอาจจะไม่จำเป็นต้องใช้การขนส่ง เพราะเป็นสินค้าประเภท Content หรือไฟล์ หรือจำพวกสินค้าด้านบริการ แต่สำหรับสินค้าที่จำเป็นต้องพึ่งพาการขนส่ง ก็มีความจำเป็นที่จะเข้าใจถึงกระบวนการขนส่ง ที่จะช่วยลดต้นทุน และรักษาสินค้าของเราให้คงสภาพเดิม ไม่แตกหักเสียหาย
7. ผู้ดูแล เป็นอีกหนึ่งบุคคลสำคัญที่จะช่วยบริหารจัดการร้านค้าให้ประสบความสำเร็จ เพราะไม่เพียงต้องดูแลจัดการอัพเดทสินค้า เนื้อหาในร้าน ยังต้องดูแล ส่วนการจัดส่งสินค้า การตอบอีเมล์ลูกค้าด้วย หากเป็นกิจการเล็กๆ ในส่วนนี้ อาจจะเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบการเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)